แนะนำวิธีปรับอัตรา ภาษี หัก ณ ที่จ่าย เพื่อรองรับมาตรการเยียวยาผลกระทบจากโควิด-19 ของกรมสรรพากร

ตอบกระทู้


คำถามนี้ เพื่อป้องกันการส่งแบบอัตโนมัติจากสแปมบอท
รูปแสดงอารมณ์
:D :) ;) :( :o :shock: :? 8-) :lol: :x :P :oops: :cry: :evil: :twisted: :roll: :!: :?: :idea: :arrow: :| :mrgreen: :geek: :ugeek:

BBCode เปิด
[img] เปิด
[flash] ปิด
[url] เปิด
[Smile icon] เปิด

กระทู้แนะนำ
   

มุมมองที่ขยายได้ กระทู้แนะนำ: แนะนำวิธีปรับอัตรา ภาษี หัก ณ ที่จ่าย เพื่อรองรับมาตรการเยียวยาผลกระทบจากโควิด-19 ของกรมสรรพากร

แนะนำวิธีปรับอัตรา ภาษี หัก ณ ที่จ่าย เพื่อรองรับมาตรการเยียวยาผลกระทบจากโควิด-19 ของกรมสรรพากร

โพสต์ โดย MDSoft » พุธ 01 เม.ย. 2020 4:38 pm

สำหรับ การลดอัตราหัก ณ ที่จ่าย (withholding tax) จาก 3% เหลือ 1.5% ออกเป็นกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว 1 เมษายน 2563
เพื่อให้ประชาชนมีสภาพคล่องในการทำธุรกิจมากขึ้น กระทรวงการคลังจึงได้ออกนโยบายลดอัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย

บุคคลธรรมดา
มาตรา 40(6) ค่าวิชาชีพอิสระ
มาตรา 40(7) ค่ารับเหมา ทั้งค่าเเรงและค่าของ
มาตรา 40(8) ค่าอื่นๆ จากการจ้างทำของ การจ่ายรางวัล ส่วนลด หรือส่งเสริมการขาย ไม่รวม ค่าบริการโรงแรม ค่าอาหารภัตราคาร ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ที่ปกติถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตรา 3% จะลดเหลือ 1.5% มีผลบังคับใช้ 1 เมษายน - 30 กันยายน 63
สำหรับ E-withholding tax ปกติถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตรา 3% จะลดเหลือ 2% มีผลบังคับใช้ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 64

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล (ยกเว้นมูลนิธิหรือสมาคม)
มาตรา 40(2) ค่าจ้างทั่วไป
มาตรา 40(3) ค่าแห่งลิขสิทธิ์ ฯลฯ
มาตรา 40(6) ค่าวิชาชีพอิสระ
มาตรา 40(7) ค่ารับเหมา ทั้งค่าเเรงและค่าของ
มาตรา 40(8) ค่าอื่นๆ จากการจ้างทำของ การจ่ายรางวัล ส่วนลด หรือส่งเสริมการขาย ไม่รวม ค่าบริการโรงแรม ค่าอาหารภัตราคาร ค่าเบี้ยประกันชีวิต
ที่ปกติถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตรา 3% จะลดเหลือ 1.5% มีผลบังคับใช้ 1 เมษายน - 30 กันยายน 63
สำหรับ E-withholding tax ปกติถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตรา 3% จะลดเหลือ 2% มีผลบังคับใช้ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 64


ในการใช้งานระบบ ERP คุณสามารถสามารถ เพิ่ม หรือ ปรับอัตรา Withholding Tax หรือภาษี หัก ณ ที่จ่าย เพื่อให้สามารถอัพเดทอัตราหรือเรทภาษีตามที่สรรพากรประกาศได้ตลอดเวลา เพียงเเค่เราไปกำหนดอัตราภาษีได้เอง ตามวิธีที่เเนะนำดูจาก VDO ได้เลยค่ะ

ข้างบน